ลักษณะวรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัย
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัยเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่เพียง ๒ รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) มีกวี และวรรณคดีสำคัญ ๔ เรื่อง
ลักษระวรรณคดี เป็นวรรณคดีที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับบ้านเมือง วัฒนธรรมและอบรมสั่งสอนศีลธรรม มิได้มุ่งเพื่อความบันเทิงโดยตรง คำประพันธ์จะแต่งเป็นร้อยแก้ว แต่ก็มีสัมผัสคล้องจองกัน ซึ่งนิยมพูดในสมัยนั้น การใช้ถ้อยคำระยะแรกใช้คำไทยแท้เป็นส่วนมาก ระยะหลังมีคำบาลี สันสกฤตและคำเขมรปนมากขึ้น
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น
ลักษณะวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น
ส่วนใหญ่มีเรื่องเกี่ยวกับศาสนาพิธีกรรมและพระมหากษัตริย์ จึงมีเนื้อเรื่องคล้ายวรรณคดีสุโขทัย ส่วนลักษณะการแต่งต่างกับวรรณคดีสุโขทัยเป็นอย่างมาก
วรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้นคำประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี่สันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้น
วรรณคดีในสมัยนี้แต่งด้วยร้อยกรองทั้งสิ้นคำประพันธ์ที่ใช้เกือบทุกชนิด คือ โคลง ร่าย กาพย์ และฉันท์ ขาดแต่กลอนส่วนใหญ่แต่งเป็นลิลิต คำบาลี่สันสกฤตและเขมรเข้ามาปะปนในคำไทยมากขึ้น
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
ลักษณะวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
1. เป็นยุคทองของวรรณคดี มีวรรณคดีและกวีเกิดขึ้นมากมาย
2. ลักษณะคำประพันธ์นิยมใช้โคลงมากที่สุด ฉันท์และกาพย์มีบ้าง ส่วนกลอนไม่ปรากฏ
3. มีแบบเรียนภาษาไทยเกิดขึ้น “จินดามณี”
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
10. โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราชของพระศรีมโหสถ
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย
๑. โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์
3. เป็นหนังสือที่ส่งเสริมความรอบรู้แก่สติปัญญาทำให้ผู้อ่านมีความเฉลียวฉลาด
4. เป็นหนังสือที่มีคุณค่าทางศีลธรรม ชักจูงสังคมให้มีศีลธรรม มีวัฒนธรรมดีขึ้น
วรรณคดีแบ่งตามประวัติ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
1. วรรณคดีมุขปาฐะ คือ วรรณคดี แบบที่เล่ากันมาปากต่อปาก ไม่ได้บันทึกไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เพลงพื้นบ้าน นิทานชาวบ้าน บทร้องเล่น
2. วรรณคดีราชสำนัก หรือ วรรณคดีลายลักษณ์ มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ไตรภูมิพระร่วง พระอภัยมณี อิเหนา ลิลิตตะเลงพ่าย
อารมณ์คือ ความรู้สึก ส่วนจินตนาการ คือ ความคิด เป็นการลับสมอง ทำให้เกิดความคิดริเริ่ม ประดิษฐกรรมใหม่ ขึ้นมาก็ได้ จินตนาการจะทำให้ผู้อ่านเป็นผู้มองเห็นการณ์ไกล จะทำสิ่งใดก็ได้ทำด้วยความรอบคอบ โอกาสจะผิดพลาดมีน้อย นอกจากนั้นจินตนาการเป็นความคิดฝันไปไกลจากสภาพที่เป็นอยู่ในขณะนั้น อาจจะเป็นความคิดถึงสิ่งที่ล่วงเลยมานานแล้วในอดีต หรือสิ่งที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นเลย โดยหวังว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตก็ได้ เช่น พระอภัยมณี สุนทรภู่ผู้แต่งนั้นเป็นกวีที่มีจินตนาการกว้างไกลมาก ได้ใฝ่ฝันเห็นภาพการนำฟางมาผูกเป็นเรือสำเภาใช้ในการเดินทางในมหาสมุทรบนยอดคลื่น เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้เรือที่ทำด้วยวัสดุน้ำหนักเบาอย่างฟางได้เกิดมีจริงขึ้นแล้วรวมทั้งเรือเร็วที่แล่นได้บนยอดคลื่นหรือบนผิวน้ำด้วย
6. คุณค่าทางการใช้ภาษา เพราะการเขียนเป็นการถ่ายทอดความคิด เป็นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อรสชาติทางภาษา เพื่อจูงใจเพื่อความติดใจและประทับใจ ทำให้ผู้อ่านสามารถสังเกต จดจำนำไปใช้ก่อให้เกิดการใช้ภาษาที่ดี เพราะการเห็นแบบอย่างทั้งที่ดี และบกพร่องทั้งการใช้คำ การใช้ประโยค การใช้โวหาร สิ่งเหล่านี้เป็นการเพิ่มพูนความรู้ทางภาษาให้แก่ผู้อ่านทั้งสิ ้น เช่น เรื่องลิลิตตะเลงพ่าย เพียงเรื่องเดียวหากศึกษาถ้อยคำภาษาโดยละเอียดถ่องแท้ก็ทำให้เกิดความแตกฉานในเรื่องภาษาขึ้นได้มาก โดยเฉพาะทางด้านคำศัพท์แล้วนับว่ามีคุณค่าอเนกอนันต์
7. คุณค่าที่เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการสร้างวรรณกรรม และศิลปกรรมด้านต่าง ๆ วรรณกรรมที่ผู้เขียนเผยแพร่ออกไปบ่อยครั้งที่สร้างความประทับใจ และแรงบันดาลใจให้เกิดผลงานอื่นๆเพิ่มขึ้น เช่น ภาพวาดของจักรพันธุ์ โปษยกฤต ส่วนมากจะได้แรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย เช่น เรื่องขุนช้าง ขุนแผน เป็นต้น หรือผลงานเพลงด้านคำร้องของ แก้ว อัจฉริยะกุล เช่น พรานล่อเนื้อ ยูงกระสันเมฆ ก็ได้แรงบันดาลใจมาจากบทกวีของศรีปราชญ์ เพลงยอยศพระลอ เพลงผู้ชนะสิบทิศ เป็นต้น
การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดีไทย![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี นิยมแบ่งตามช่วงระยะเวลาที่เกิดวรรณคดี โดยยึดราชธานีเป็นหลัก ดังนี้
1. สมัยกรุงสุโขทัย ประมาณ พ.ศ. 1800 -1920
เป็นเวลา 120 ปี ตั้งแต่การสร้างกรุงสุโขทัยจนถึงเสียอิสรภาพแก่กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1920 มีหลักฐานทางวรรณคดีปรากฏอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัยเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) มีกวีและวรรณคดีที่สำคัญ คือ
1. สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กวีที่สำคัญได้แก่พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์
– ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นวรรณคดีบันทึกประวัติความเป็นไปของบ้านเมือง
2. สมัยพระยาลิไท กวีที่สำคัญ ได้แก่
พระยาลิไท ทรงพระราชนิพนธ์
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย
ลักษณะวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย
ใช้คำประพันธ์ทุกชนิดทั้ง โคลง ฉันท์ กาพย์ ร่าย ยุคนี้มีการใช้กลอน มีทั้งวรรณคดีและกวีสำคัญเกิดขึ้นมากมาย กวีมีตั้งแต่พระมหากษัตริย์ จจนถึง พระภิกษุ มีวรรณคดีประเภทละครเกิดขึ้นด้วย มีคำหลวงเกิดขึ้น ๒ เรื่อง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลาย
๑. โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์
๔. กาพย์เห่เรือ
คร่ำครวญของพระรามต
หนังสือที่เป็นวรรณคดี ต้องมีลักษณะครบถ้วน 4 ประการ ต่อไปนี้ ![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
1. เป็นหนังสือที่แต่งดีที่สุด ใช้ถ้อยคำร้อยกรองสำนวนเกลี้ยงเกลา มีความไพเราะใช้เป็นแบบฉบับได้
2. เป็นหนังสือที่อ่านแล้วได้รับความเพลิดเพลิน มีความซึ้งใจเกิดความพอใจหรือไม่พอใจตามท้องเรื่อง ทำให้ผู้อ่านมีอารมณ์หวั่นไหวเปลี่ยนแปลงไปตามจังหวะของเรื่อง หรือเรียกว่าเป็นหนังสือที่มีคุณค่าในทางสะเทือนอารมณ์
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
1. เป็นหนังสือที่แต่งดีที่สุด ใช้ถ้อยคำร้อยกรองสำนวนเกลี้ยงเกลา มีความไพเราะใช้เป็นแบบฉบับได้
2. เป็นหนังสือที่อ่านแล้วได้รับความเพลิดเพลิน มีความซึ้งใจเกิดความพอใจหรือไม่พอใจตามท้องเรื่อง ทำให้ผู้อ่านมีอารมณ์หวั่นไหวเปลี่ยนแปลงไปตามจังหวะของเรื่อง หรือเรียกว่าเป็นหนังสือที่มีคุณค่าในทางสะเทือนอารมณ์
3. เป็นหนังสือที่ส่งเสริมความรอบรู้แก่สติปัญญาทำให้ผู้อ่านมีความเฉลียวฉลาด
4. เป็นหนังสือที่มีคุณค่าทางศีลธรรม ชักจูงสังคมให้มีศีลธรรม มีวัฒนธรรมดีขึ้น
วรรณคดีแบ่งตามประวัติ จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
1. วรรณคดีมุขปาฐะ คือ วรรณคดี แบบที่เล่ากันมาปากต่อปาก ไม่ได้บันทึกไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เพลงพื้นบ้าน นิทานชาวบ้าน บทร้องเล่น
2. วรรณคดีราชสำนัก หรือ วรรณคดีลายลักษณ์ มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ไตรภูมิพระร่วง พระอภัยมณี อิเหนา ลิลิตตะเลงพ่าย
วรรณคดียังแบ่งตามลักษณะ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ
1. วรรณคดีบริสุทธิ์ คือ วรรณคดีที่ผู้แต่งมุ่งในด้านความบันเทิงและอักษรศิลป์โดยเฉพาะ ต้องการแสดงออกทางวรรณศิลป์ ไม่มีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ทางอื่น ต้องการให้ผู้อ่านได้อ่านอย่างเพลิดเพลินมากกว่า เช่น ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี นิราศนรินทร์2. วรรณคดีประยุกต์ คือ วรรณคดีที่แต่งขึ้นเพื่อประโยชน์ทางอื่น มีความมุ่งหมายในการแต่งจำเพาะเจาะจงทางใดทางหนึ่ง เช่น ต้องการสอนให้คนละความชั่วทำแต่ความดี วรรณคดีประเภทนี้ เช่น ไตรภูมิพระร่วง
การศึกษาวรรณคดีโดยวิเคราะห์ตามเนื้อหาสามารถแบ่งได้เป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้
วรรณคดีศาสนา วรรณคดีนิทาน วรรณคดีลิลิต วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเสภา วรรณคดีบทละคร วรรณคดีเพลงยาว วรรณคดีคำฉันท์ วรรณคดียอพระเกียรติ วรรณคดีคำหลวง วรรณคดีปลุกใจ
คุณค่าของวรรณคดี![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
วรรณคดีแต่ละเล่มต่างมีคุณค่าต่อสังคมแตกต่างกันไป ผู้อ่านวรรณคดีนอกจากจะได้รับรสแห่งความไพเราะทางภาษา ความสนุกเพลิดเพลินอันเป็นคุณค่าทางอารมณ์แล้ว วรรณคดียังให้ความรู้และคุณค่าทางด้านสังคม จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นมรดกทางสังคมด้วย คุณค่าทางสังคม ได้แก่
1. คุณค่าทางวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมเป็นระเบียบกฎเกณฑ์ ส่วนประเพณีเป็นความคิด ความเชื่อ จารีต ระเบียบแบบแผนตลอดจนพิธีกรรมต่าง ๆ วรรณคดีจะสอดแทรกวัฒนธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณีต่าง ๆ ของสังคมไว้ เป็นการถ่ายทอดความคิดสู่ผู้อ่าน ทำให้ผู้อ่านเกิดความสำนึกในความเป็นชาติอย่างซาบซึ้ง เช่น ขุนช้างขุนแผน
2. คุณค่าที่แสดงให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ กวีจะนำเนื้อหาหรือสภาพชีวิตที่พบเห็นในสมัยนั้นมากล่าวไว้ในบทประพันธ์ของตน ทำให้ผู้อ่านได้ทราบสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ ทำให้เห็นสภาพสังคมในสมัยนั้น เช่น อิเหนา (รัชกาลที่ 2)
3. คุณค่าด้านปรัชญาและความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ วรรณคดีเป็นที่รวมแห่งปรัชญาการดำเนินชีวิตของคนในสังคม กวีจะสอดแทรกปรัชญาแง่คิด ศีลธรรม ตลอดจนคติธรรมเพื่อการยกระดับจิตใจของผู้อ่านให้สูงขึ้น และยังทำให้ผู้อ่านได้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ เช่น พระอภัยมณี
4. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ การบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่มุ่งจดแต่ข้อเท็จจริงไม่ช้าก็อาจจะเบื่อหน่ายหลงลืมได้ เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับสงครามยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับพระมหาอุปราช ในประวัติศาสตร์อาจจะจดบันทึกไว้เพียงไม่กี่บรรทัด ผู้อ่านก็อาจจะอ่านข้ามๆไปโดยไม่ทันสังเกตและจดจำ ถ้าได้อ่านลิลิตตะเลงพ่ายจะจำเรื่องยุทธหัตถีได้ดีขึ้นและยังเห็นความสำคัญของเหตุการณ์บ้านเมืองในตอนนั้นอีกด้วย ทั้งนี้เพราะผู้อ่านได้รับรสแห่งความสุขบันเทิงใจในขณะที่อ่านลิลิตตะเลงพ่ายอีกด้วย
5. คุณค่าทางจินตนาการ เป็นการสร้างความรู้สึกนึกคิดที่ลึกซึ้ง จินตนาการต่างกับอารมณ์ เพราะ
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
วรรณคดีศาสนา วรรณคดีนิทาน วรรณคดีลิลิต วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเสภา วรรณคดีบทละคร วรรณคดีเพลงยาว วรรณคดีคำฉันท์ วรรณคดียอพระเกียรติ วรรณคดีคำหลวง วรรณคดีปลุกใจ
คุณค่าของวรรณคดี
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
วรรณคดีแต่ละเล่มต่างมีคุณค่าต่อสังคมแตกต่างกันไป ผู้อ่านวรรณคดีนอกจากจะได้รับรสแห่งความไพเราะทางภาษา ความสนุกเพลิดเพลินอันเป็นคุณค่าทางอารมณ์แล้ว วรรณคดียังให้ความรู้และคุณค่าทางด้านสังคม จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นมรดกทางสังคมด้วย คุณค่าทางสังคม ได้แก่
1. คุณค่าทางวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมเป็นระเบียบกฎเกณฑ์ ส่วนประเพณีเป็นความคิด ความเชื่อ จารีต ระเบียบแบบแผนตลอดจนพิธีกรรมต่าง ๆ วรรณคดีจะสอดแทรกวัฒนธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ ประเพณีต่าง ๆ ของสังคมไว้ เป็นการถ่ายทอดความคิดสู่ผู้อ่าน ทำให้ผู้อ่านเกิดความสำนึกในความเป็นชาติอย่างซาบซึ้ง เช่น ขุนช้างขุนแผน
2. คุณค่าที่แสดงให้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ กวีจะนำเนื้อหาหรือสภาพชีวิตที่พบเห็นในสมัยนั้นมากล่าวไว้ในบทประพันธ์ของตน ทำให้ผู้อ่านได้ทราบสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของบรรพบุรุษ ทำให้เห็นสภาพสังคมในสมัยนั้น เช่น อิเหนา (รัชกาลที่ 2)
3. คุณค่าด้านปรัชญาและความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ วรรณคดีเป็นที่รวมแห่งปรัชญาการดำเนินชีวิตของคนในสังคม กวีจะสอดแทรกปรัชญาแง่คิด ศีลธรรม ตลอดจนคติธรรมเพื่อการยกระดับจิตใจของผู้อ่านให้สูงขึ้น และยังทำให้ผู้อ่านได้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ เช่น พระอภัยมณี
4. คุณค่าทางประวัติศาสตร์ การบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่มุ่งจดแต่ข้อเท็จจริงไม่ช้าก็อาจจะเบื่อหน่ายหลงลืมได้ เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับสงครามยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับพระมหาอุปราช ในประวัติศาสตร์อาจจะจดบันทึกไว้เพียงไม่กี่บรรทัด ผู้อ่านก็อาจจะอ่านข้ามๆไปโดยไม่ทันสังเกตและจดจำ ถ้าได้อ่านลิลิตตะเลงพ่ายจะจำเรื่องยุทธหัตถีได้ดีขึ้นและยังเห็นความสำคัญของเหตุการณ์บ้านเมืองในตอนนั้นอีกด้วย ทั้งนี้เพราะผู้อ่านได้รับรสแห่งความสุขบันเทิงใจในขณะที่อ่านลิลิตตะเลงพ่ายอีกด้วย
5. คุณค่าทางจินตนาการ เป็นการสร้างความรู้สึกนึกคิดที่ลึกซึ้ง จินตนาการต่างกับอารมณ์ เพราะ
อารมณ์คือ ความรู้สึก ส่วนจินตนาการ คือ ความคิด เป็นการลับสมอง ทำให้เกิดความคิดริเริ่ม ประดิษฐกรรมใหม่ ขึ้นมาก็ได้ จินตนาการจะทำให้ผู้อ่านเป็นผู้มองเห็นการณ์ไกล จะทำสิ่งใดก็ได้ทำด้วยความรอบคอบ โอกาสจะผิดพลาดมีน้อย นอกจากนั้นจินตนาการเป็นความคิดฝันไปไกลจากสภาพที่เป็นอยู่ในขณะนั้น อาจจะเป็นความคิดถึงสิ่งที่ล่วงเลยมานานแล้วในอดีต หรือสิ่งที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นเลย โดยหวังว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตก็ได้ เช่น พระอภัยมณี สุนทรภู่ผู้แต่งนั้นเป็นกวีที่มีจินตนาการกว้างไกลมาก ได้ใฝ่ฝันเห็นภาพการนำฟางมาผูกเป็นเรือสำเภาใช้ในการเดินทางในมหาสมุทรบนยอดคลื่น เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้เรือที่ทำด้วยวัสดุน้ำหนักเบาอย่างฟางได้เกิดมีจริงขึ้นแล้วรวมทั้งเรือเร็วที่แล่นได้บนยอดคลื่นหรือบนผิวน้ำด้วย
6. คุณค่าทางการใช้ภาษา เพราะการเขียนเป็นการถ่ายทอดความคิด เป็นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อรสชาติทางภาษา เพื่อจูงใจเพื่อความติดใจและประทับใจ ทำให้ผู้อ่านสามารถสังเกต จดจำนำไปใช้ก่อให้เกิดการใช้ภาษาที่ดี เพราะการเห็นแบบอย่างทั้งที่ดี และบกพร่องทั้งการใช้คำ การใช้ประโยค การใช้โวหาร สิ่งเหล่านี้เป็นการเพิ่มพูนความรู้ทางภาษาให้แก่ผู้อ่านทั้งสิ ้น เช่น เรื่องลิลิตตะเลงพ่าย เพียงเรื่องเดียวหากศึกษาถ้อยคำภาษาโดยละเอียดถ่องแท้ก็ทำให้เกิดความแตกฉานในเรื่องภาษาขึ้นได้มาก โดยเฉพาะทางด้านคำศัพท์แล้วนับว่ามีคุณค่าอเนกอนันต์
7. คุณค่าที่เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการสร้างวรรณกรรม และศิลปกรรมด้านต่าง ๆ วรรณกรรมที่ผู้เขียนเผยแพร่ออกไปบ่อยครั้งที่สร้างความประทับใจ และแรงบันดาลใจให้เกิดผลงานอื่นๆเพิ่มขึ้น เช่น ภาพวาดของจักรพันธุ์ โปษยกฤต ส่วนมากจะได้แรงบันดาลใจจากวรรณคดีไทย เช่น เรื่องขุนช้าง ขุนแผน เป็นต้น หรือผลงานเพลงด้านคำร้องของ แก้ว อัจฉริยะกุล เช่น พรานล่อเนื้อ ยูงกระสันเมฆ ก็ได้แรงบันดาลใจมาจากบทกวีของศรีปราชญ์ เพลงยอยศพระลอ เพลงผู้ชนะสิบทิศ เป็นต้น
การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดีไทย
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี นิยมแบ่งตามช่วงระยะเวลาที่เกิดวรรณคดี โดยยึดราชธานีเป็นหลัก ดังนี้
1. สมัยกรุงสุโขทัย ประมาณ พ.ศ. 1800 -1920
เป็นเวลา 120 ปี ตั้งแต่การสร้างกรุงสุโขทัยจนถึงเสียอิสรภาพแก่กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1920 มีหลักฐานทางวรรณคดีปรากฏอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)
2. สมัยกรุงศรีอยุธยา แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
- สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) จนถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (พระเชษฐา) พ.ศ. 1893 – 2072 เป็นระยะเวลา 179 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไป 90 ปี เพราะบ้านเมืองไม่ปกติสุข มีสงครามกับพม่า
- สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จนถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2153 – 2231 เป็นเวลา 78 ปี จากนั้นวรรณคดีว่างเว้นไปอีก 44ปี
- สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2275 – 2310 เป็นเวลา 35 ปี
4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
- สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2325 – 2394 เป็นระยะเวลา 69 ปี
- สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน หรือสมัยรับอิทธิพลตะวันตก ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2394 ถึงปัจจุบัน เป็นสมัยที่วรรณคดีไทยได้รับอิทธิพลจากตะวันตก รูปแบบของวรรณคดี เนื้อเรื่อง ตลอดจนความคิดในการเขียนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
![](https://kingkarnk288.files.wordpress.com/2015/08/emotion6-50.gif?w=840)
วรรณคดีสมัยกรุงสุโขทัยเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอยู่เพียง 2 รัชสมัย คือ สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) มีกวีและวรรณคดีที่สำคัญ คือ
1. สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กวีที่สำคัญได้แก่พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์
– ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นวรรณคดีบันทึกประวัติความเป็นไปของบ้านเมือง
2. สมัยพระยาลิไท กวีที่สำคัญ ได้แก่
พระยาลิไท ทรงพระราชนิพนธ์
[แก้] ก
กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
กากีกลอนสุภาพ
กาพย์มหาชาติ
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์
กำสรวลโคลงดั้น (กำสรวลศรีปราชญ์)
ไกรทอง
[แก้] ข
ขุนช้างขุนแผน
ขวานฟ้าหน้าดำ
[แก้] ค
โคบุตร
โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
โคลงดั้นนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย
โคลงทวาทศมาส
โคลงนิราศพระยาตรัง (นิราศถลาง)
โคลงนิราศหริภุญชัย
โคลงพยุหยาตราเพชรพวง
โคลงโลกนิติ
[แก้] ง
เงาะป่า
[แก้] จ
จันทโครพ
จินดามณี
[แก้] ช
ไชยเชษฐ์
ไชยทัต
[แก้] ด
ดาหลัง (อิเหนาใหญ่)
[แก้] ต
ไตรภูมิพระร่วง (เตภูมิกถา)
ไตรภูมิโลกวินิจฉัย
[แก้] ท
ทวาทศมาส (โคลงทวาทศมาส)
ทศรถสอนพระราม
ท้าวแสนปม
[แก้] น
นันโทปนันทสูตรคำหลวง
นางนพมาศ (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์)
นิราศกวางตุ้ง (นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน)
นิราศเดือน
นิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย (โคลงดั้นนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย)
นิราศถลาง(โคลงนิราศพระยาตรัง)
นิราศทวาราวดี
นิราศนครวัด
นิราศนครสวรรค์
นิราศนรินทร์
นิราศธารทองแดง (กาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดง)
นิราศธารโศก (โคลงนิราศพระบาท)
นิราศไปตรัง(เพลงยาวนมัสการพระบรมธาตุ นิราศไปตรัง)
นิราศพระแท่นดงรัง
นิราศพระบาท
นิราศพระประธม
นิราศพระยาตรัง
นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน (นิราศกวางตุ้ง)
นิราศภูเขาทอง
นิราศเมืองแกลง
นิราศเมืองเพชร
นิราศรัตนะ
นิราศรำพึง (รำพันพิลาป)
นิราศลอนดอน
นิราศวัดเจ้าฟ้า
นิราศษีดา (ราชาพิลาปคำฉันท์)
นิราศสุพรรณ
นิราศอิเหนา
นิทานทองอิน
[แก้] ป
ปุณโณวาทคำฉันท์
ปลาบู่ทอง
[แก้] ป
ปฐมสมโพธิกถา
[แก้] พ
พระไชยสุริยา
พระนลคำฉันท์
พระนลคำหลวง
พระมะเหลเถไถ
พระมาลัยคำหลวง
พระรถคำฉันท์
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระเวสสันดร
พระสุธนคำฉันท์
พระอภัยมณี
พาลีสอนน้อง
เพลงยาวถวายโอวาท
เพลงยาวนมัสการพระบรมธาตุ นิราศไปตรัง
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
เพลงยาวพระยาตรัง
เพลงยาวของพระยามหานุภาพ
เพลงยาวหม่อมภิมเสน
พิกุลทอง
[แก้] ม
มณีพิชัย
มหาชาติคำกาพย์ (กาพย์มหาชาติ)
มหาชาติคำฉันท์
มหาชาติคำหลวง
มหาเวสสันดรชาดก (พระเวสสันดร)
มัทนะพาธา
[แก้] ย
ยวนพ่ายโคลงดั้น
ยอพระกลิ่น
ยุขัน
[แก้] ร
ระเด่นลันได
ราชสวัสดิ์
ราชาธิราช
ราชาพิลาปคำฉันท์
รามเกียรติ์
รำพันพิลาป
[แก้] ล
ลักษณวงศ์
ลิลิตนิทราชาคริต
ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง
ลิลิตพระลอ
ลิลิตเพชรมงกุฎ
ลิลิตยวนพ่าย (ยวนพ่ายโคลงดั้น)
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตศรีวิชัยชาดก
ลิลิตโองการแช่งน้ำ (ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า, โองการแช่งน้ำ)
[แก้] ว
เวนิสวาณิช
วิวาหพระสมุท
[แก้] ศ
ศกุนตลา
ศรีธนญชัย
ศิริวิบุลกิตติ
[แก้] ส
สมบัติอมรินทร์คำกลอน
สมุทรโฆษคำฉันท์
สรรพสิทธิ์คำฉันท์
สวัสดิรักษา
สังข์ทอง
สังข์ศิลปชัย
สามัคคีเภทคำฉันท์
สาวิตรี
สิงหไตรภพ
สุบินกุมาร
สุภาษิตพระร่วง (บัญญัติพระร่วง)
สุภาษิตสอนหญิง
สุวรรณหงส์
เสือโคคำฉันท์
สมุทรโคดม
[แก้] ห
หม่อมเป็ดสวรรค์
หลวิชัยคาวี
[แก้] อ
อนิรุทธ์คำฉันท์
อภัยนุราช
อาบูหะซัน
อิลราชคำฉันท์
อิเหนา
อิเหนาคำฉันท์ - เจ้าพระยาพระคลัง (หน)
บทละครเรื่องอิเหนา - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
บทละครเรื่องดาหลัง - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
บทละครเรื่องอิเหนา - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
นิราศอิเหนา - สุนทรภู่
อิเหนาคำฉันท์ - กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ
อุณรุทร้อยเรื่อง
โองการแช่งน้ำ
กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
กากีกลอนสุภาพ
กาพย์มหาชาติ
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์
กำสรวลโคลงดั้น (กำสรวลศรีปราชญ์)
ไกรทอง
[แก้] ข
ขุนช้างขุนแผน
ขวานฟ้าหน้าดำ
[แก้] ค
โคบุตร
โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
โคลงดั้นนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย
โคลงทวาทศมาส
โคลงนิราศพระยาตรัง (นิราศถลาง)
โคลงนิราศหริภุญชัย
โคลงพยุหยาตราเพชรพวง
โคลงโลกนิติ
[แก้] ง
เงาะป่า
[แก้] จ
จันทโครพ
จินดามณี
[แก้] ช
ไชยเชษฐ์
ไชยทัต
[แก้] ด
ดาหลัง (อิเหนาใหญ่)
[แก้] ต
ไตรภูมิพระร่วง (เตภูมิกถา)
ไตรภูมิโลกวินิจฉัย
[แก้] ท
ทวาทศมาส (โคลงทวาทศมาส)
ทศรถสอนพระราม
ท้าวแสนปม
[แก้] น
นันโทปนันทสูตรคำหลวง
นางนพมาศ (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์)
นิราศกวางตุ้ง (นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน)
นิราศเดือน
นิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย (โคลงดั้นนิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย)
นิราศถลาง(โคลงนิราศพระยาตรัง)
นิราศทวาราวดี
นิราศนครวัด
นิราศนครสวรรค์
นิราศนรินทร์
นิราศธารทองแดง (กาพย์ห่อโคลงนิราศธารทองแดง)
นิราศธารโศก (โคลงนิราศพระบาท)
นิราศไปตรัง(เพลงยาวนมัสการพระบรมธาตุ นิราศไปตรัง)
นิราศพระแท่นดงรัง
นิราศพระบาท
นิราศพระประธม
นิราศพระยาตรัง
นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน (นิราศกวางตุ้ง)
นิราศภูเขาทอง
นิราศเมืองแกลง
นิราศเมืองเพชร
นิราศรัตนะ
นิราศรำพึง (รำพันพิลาป)
นิราศลอนดอน
นิราศวัดเจ้าฟ้า
นิราศษีดา (ราชาพิลาปคำฉันท์)
นิราศสุพรรณ
นิราศอิเหนา
นิทานทองอิน
[แก้] ป
ปุณโณวาทคำฉันท์
ปลาบู่ทอง
[แก้] ป
ปฐมสมโพธิกถา
[แก้] พ
พระไชยสุริยา
พระนลคำฉันท์
พระนลคำหลวง
พระมะเหลเถไถ
พระมาลัยคำหลวง
พระรถคำฉันท์
พระราชพิธีสิบสองเดือน
พระเวสสันดร
พระสุธนคำฉันท์
พระอภัยมณี
พาลีสอนน้อง
เพลงยาวถวายโอวาท
เพลงยาวนมัสการพระบรมธาตุ นิราศไปตรัง
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
เพลงยาวพระยาตรัง
เพลงยาวของพระยามหานุภาพ
เพลงยาวหม่อมภิมเสน
พิกุลทอง
[แก้] ม
มณีพิชัย
มหาชาติคำกาพย์ (กาพย์มหาชาติ)
มหาชาติคำฉันท์
มหาชาติคำหลวง
มหาเวสสันดรชาดก (พระเวสสันดร)
มัทนะพาธา
[แก้] ย
ยวนพ่ายโคลงดั้น
ยอพระกลิ่น
ยุขัน
[แก้] ร
ระเด่นลันได
ราชสวัสดิ์
ราชาธิราช
ราชาพิลาปคำฉันท์
รามเกียรติ์
รำพันพิลาป
[แก้] ล
ลักษณวงศ์
ลิลิตนิทราชาคริต
ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง
ลิลิตพระลอ
ลิลิตเพชรมงกุฎ
ลิลิตยวนพ่าย (ยวนพ่ายโคลงดั้น)
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตศรีวิชัยชาดก
ลิลิตโองการแช่งน้ำ (ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า, โองการแช่งน้ำ)
[แก้] ว
เวนิสวาณิช
วิวาหพระสมุท
[แก้] ศ
ศกุนตลา
ศรีธนญชัย
ศิริวิบุลกิตติ
[แก้] ส
สมบัติอมรินทร์คำกลอน
สมุทรโฆษคำฉันท์
สรรพสิทธิ์คำฉันท์
สวัสดิรักษา
สังข์ทอง
สังข์ศิลปชัย
สามัคคีเภทคำฉันท์
สาวิตรี
สิงหไตรภพ
สุบินกุมาร
สุภาษิตพระร่วง (บัญญัติพระร่วง)
สุภาษิตสอนหญิง
สุวรรณหงส์
เสือโคคำฉันท์
สมุทรโคดม
[แก้] ห
หม่อมเป็ดสวรรค์
หลวิชัยคาวี
[แก้] อ
อนิรุทธ์คำฉันท์
อภัยนุราช
อาบูหะซัน
อิลราชคำฉันท์
อิเหนา
อิเหนาคำฉันท์ - เจ้าพระยาพระคลัง (หน)
บทละครเรื่องอิเหนา - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
บทละครเรื่องดาหลัง - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
บทละครเรื่องอิเหนา - พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
นิราศอิเหนา - สุนทรภู่
อิเหนาคำฉันท์ - กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ
อุณรุทร้อยเรื่อง
โองการแช่งน้ำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น